ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานกับโปรแกรม MicroFEAP for Windows
โมดูล P1
|
Example
อาคาร
คสล. 6 ชั้น ที่มีหน้าตัดคาน (Beams) ขนาด 0.25 m. x 0.50
m. และเสา (Columns) ขนาด 0.50 m. x 0.50 m. ถูกจำลองเป็นโครงสร้าง
Frame ดังรูปที่ 3 ตั้งอยู่ในโซน 1 (Z = 3/16 = 0.1875) ฐานรากก่อสร้างอยู่บนชั้นดิน
Stiff Clay (S = 1.25)
กำหนด:
|
ค่าความสำคัญของอาคาร |
I
|
=
1.0 |
|
|
ค่า
Frame factor |
K
|
=
0.67 |
(กรณี Frame) |
|
น้ำหนักทั้งหมด |
w
|
=
1,600 ตัน
|
ซึ่งแยกเป็นแต่ละชั้นดังแสดงดังรูปที่ 3 |
จงหาแรงที่กระทำกับโครงสร้างเนื่องจากแผ่นดินไหวพร้อมทั้งวิเคราะห์หาพฤติกรรมการโยกตัวและค่า
Bending Moment ของโครงสร้าง
รูปที่
3 อาคาร 6 ชั้น ตั้งบนพื้นที่ในเขตแผ่นดินไหว
โซน 1
|
ขั้นตอนการวิเคราะห์
1) ->
หาคาบของการแกว่ง T และค่า C จากสูตรอย่างง่ายของ UBC
ดังนี้
2) -> หาค่า Total Base
Shear จากสูตรที่ (1) ในมุมวิศวกรตอนที่ 3
|
V
|
=
|
Z
I K C S Wd |
|
|
=
|
(0.1875)
(1) (0.67) (0.086) (1.25) (1,600) |
.·. ค่า |
V
|
=
|
21.61 Ton |
3) -> กระจายแรงเข้าสู่โครงสร้างโดยใช้สมการแบบเชิงเส้น
Linear Distribution ตามสูตรข้างต้น ดังนี้
(3.1)
หาค่า Ft ที่ชั้นบนสุด
จากค่า |
T
|
<
0.7 |
ดังนั้น |
Ft
|
= 0 |
(3.2)
คำนวณหาแรงแนวราบกระทำที่ชั้นต่างๆ จากสูตร
ดังแสดงในตาราง
ชั้น
|
Wx
(Tons)
|
hx
(m)
|
Wxhx
|
(Wxhx)
/ (SWh)
|
Fx
(Tons)
|
6
|
300
|
21
|
6,300
|
0.335
|
7.24
|
5
|
200
|
17
|
3,400
|
0.181
|
3.91
|
4
|
200
|
14
|
2,800
|
0.149
|
3.22
|
3
|
200
|
11
|
2,200
|
0.117
|
2.53
|
2
|
200
|
8
|
1,600
|
0.085
|
1.84
|
1
|
500
|
5
|
2,500
|
0.133
|
2.87
|
|
|
|
SWh
= 18,800
|
|
SF
= 21.61
|
4) -> จะได้แรงกระทำด้านข้าง
(Fx) ที่แต่ละชั้น ดังรูปที่
4
รูปที่
4 แรงแนวราบซึ่งแปลงมาจากแรงแผ่นดินไหวกระทำที่ชั้นต่างๆ ของโครงสร้าง
5) -> เมื่อแปลงแรงแผ่นดินไหวเป็นแรงแนวราบแบบ
Static Force แล้ว ทีนี้จึงกำหนดโครงสร้างจำลอง (Model) ขึ้นมา
แล้วเลือกใช้โปรแกรมที่สอดคล้องกับแบบจำลอง เพื่อวิเคราะห์หาค่าพฤติกรรมของโครงสร้างที่ต้องการทราบ
เช่น ค่าการเซสูงสุดของอาคาร ค่าแรงเฉือน
ค่าแรงดัดในชิ้นส่วนต่างๆ ฯลฯ สำหรับตัวอย่างนี้จะขอเลือกใช้โปรแกรม
MicroFEAP for Windows โมดูล P1
(เล่นเส้นนิดหน่อย...ของชมรมฯ เราเองคร้าบบบ) ซึ่งสามารถวิเคราะห์โครงสร้าง
2 มิติ ประเภท Truss และ Frame ได้ ดังแสดงในรูปที่ 5 เป็นการจำลองโครงสร้างที่จะป้อนให้โปรแกรม
MFW-P1
รูปที่
5 แสดงโครงสร้างจำลองของโครงข้อแข็ง ซึ่งประกอบด้วย 21 Nodes,
30 Elements และมีแรงแนวราบกระทำที่จุดต่างๆ
วิธีการป้อนข้อมูล
(Data Input)
|
|
- เมื่อเปิดโปรแกรมจะพบหน้าต่าง Activity
Menu ก่อน ให้เข้าไปที่เมนู Project-data
แล้วเลือกทำโปรเจ็กต์ใหม่ (New Project) |
-
ป้อนข้อมูลต่างๆ แล้วเลือกระบบ Structure เป็น 2D
Frame เพื่อเข้าสู่หน้าต่าง Main Data Menu |
-
ที่เมนู Node เข้าไปป้อนจำนวน (No.
of nodes) ตำแหน่ง (Coordinate) และลักษณะจุดยึด (Boundary) |
-
ที่เมนู Elements เข้าไปป้อนจำนวน
(No. of elements) การเชื่อมต่อ (Element connectivity)
|
-
ที่เมนู Materials ป้อนจำนวนกลุ่มวัสดุ
(No. of material sets) และค่าคุณสมบัติ (Properties) ให้ครบ (E,
A, I) |
-
ที่เมนู Loads ในที่นี้เลือกเป็นแรงกระทำที่
joint (Forces applied) |
-
สามารถตรวจดูรูปโครงสร้างจำลองว่าเป็นเหมือนที่จำลองหรือไม่อย่างคร่าวๆ
ได้ โดยคลิ๊กที่เมนู Graphics (เป็นรูป
Geometry) |
-
ออกจากหน้าต่างของ Main Data Menu จะกลับมายังหน้าต่างของ Activity
Menu จากนั้นคลิ๊กเมนู Solution
เลือก COMPLETE |
-
เป็นอันเสร็จสิ้นการป้อนข้อมูลไปส่วนหนึ่ง ทีนี้ก็ลองตรวจค่าผลลัพธ์ที่ได้ดูซึ่งสามารถดูผลลัพธ์แบบเป็นตัวเลข
( เมนู Results) หรือแบบรูปภาพ (เมนู
Graphics) ก็ได้ |
รูปที่
6 แสดงรูปการเซของโครงสร้าง ซึ่งวิศวกรควรตรวจสอบค่าการเซสูงสุดไม่ให้เกินค่ามาตรฐานที่ยอมให้ในการออกแบบ
รูปที่
7 แสดงรูป Bending Moment ที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วนของโครงสร้าง ซึ่งวิศวกรสามารถนำไปใช้ตรวจสอบขนาดหน้าตัดของชิ้นส่วนนั้นๆ
|